โรคกรดไหลย้อน
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
โรคการไหลย้อนจากกระเพาะอาหารมาหลอดอาหาร หรือที่นิยมเรียกว่า โรคกรดไหลย้อน (อังกฤษ: Gastro-Esophageal Reflux Disease; GERD) คือภาวะที่มีกรดหรือน้าย่อยในกระเพาะอาหาร ไหลย้อนขึ นมาบริเวณหลอดอาหาร ซึ่งหลอดอาหารเป็นอวัยวะที่ไม่ทนต่อกรด จึงท้าให้เกิดการอักเสบของหลอดอาหาร ซึ่งโดยปกติ หลอดอาหารจะมีการบีบตัวไล่อาหารลงด้านล่างและหูรูด ท้าหน้าที่ป้องกันการไหลย้อนของน้าย่อย กรด หรืออาหาร ไม่ให้ไหลย้อนขึ นมาบริเวณหลอดอาหาร แต่ในปัจจุบัน หูรูดส่วนนี ท้างานได้น้อยลงในบางคน ซึ่งจะตรวจพบได้ประมาณ 1 ใน 5 คน พบในคนทั่วไป ทุกกล่ม ทุกช่วงอายุ แต่จะพบได้มากในคนอ้วน หรือสูบบุหรี่ และการไหลย้อนของกรด ถ้ามีมาก อาจไหลออกนอกหลอดอาหาร อาจท้าให้มีผลต่อกล่องเสียง ล้าคอ หรือปอดได้ ซึ่งหากละเลยไม่ไปพบแพทย์ เพื่อท้าการรักษา อาจท้าให้เรื อรังกลายเป็นมะเร็งหลอดอาหารได้
ภาวะของโรคกรดไหลย้อน แบ่งออกเป็น 3 ระดับ
ระดับแรก ผู้ป่วยมีภาวะกรดไหลย้อนบ้างในบางครั ง เป็นบ้างไม่เป็นบ้าง แล้วก็หายไป ไม่มีผลต่อสุขภาพมากมาย (Gastro-Esophageal Reflux : GER)
ระดับสอง ผู้ป่วยจะมีอาการกรดไหลย้อนขึ นมาเฉพาะที่บริเวณหลอดอาหาร (Gastro-Esophageal Reflux Disease : GERD)
ระดับสาม ผู้ป่วยมีกรดไหลย้อนจากกระเพาะอาหารมาก จนไหลขึ นไปถึงกล่องเสียง หรือหลอดลม (Laryngo-Pharyngeal Reflux : LPR)
สาเหตุของโรคกรดไหลย้อน
โรคกรดไหลย้อน นอกจากจะเกิดจากความผิดปกติของหูรูดหลอดอาหาร หรือความผิดปกติในการบีบตัวของหลอดอาหารในตัวผู้ป่วยเองแล้ว ยังมีปัจจัยอื่นเสริมอีกด้วย เช่น
กินเสร็จอิ่มๆ หรือกินอาหารเสร็จยังไม่ถึง 4 ชั่วโมงแล้วนอน
Hiatus hernia คือ โรคที่เกิดจาก กระเพาะอาหารส่วนต้น ยื่นเข้าไปกะบังลม
สูบบุหรี่
ดื่มสุรา หรือเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอลล์, น้าอัดลม
รับประทานอาหารประเภท ของทอด ของมัน หรืออาหารที่มีรสเปรี ยวจัด เผ็ดจัด
อาการในหลอดอาหาร
ผู้ป่วยจะมีอาการ
เสียงแหบกว่าปกติโดยไม่ได้เป็นโรคอื่นใดที่เกี่ยวกับกล่องเสียง
ปวดแสบปวดร้อนในหน้าอก หรือที่เรียกว่า Heart Burn เนื่องจากกรดไปท้าให้หลอดอาหารอักเสบ
มีอาการจุกแน่นบริเวณหน้าอก เหมือนมีก้อนติดอยู่ในล้าคอ หายใจไม่ออกเวลานอน
กลืนอาหารล้าบาก ถ้าเป็นมากจะเจ็บคอมากจนอาจจะกลืนอาหารแทบจะไม่ได้
คลื่นไส้
มีอาการเรอเปรี ยว หรือรู้สึกถึงรสขมของน้าดี รสเปรี ยวของกรดในปากหรือล้าคอ
อาการนอกหลอดอาหาร บริเวณกล่องเสียงและหลอดลม
ผู้ป่วยจะมีอาการ
ไอเรื อรัง เจ็บคอเรื อรัง
เสียงแหบ โดยเฉพาะในตอนเช้า เนื่องจากเวลานอน กรดจะไหลย้อนขึ้นมาได้มาก
เป็นโรคปอดอักเสบ เจ็บหน้าอก
การรักษาโดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
งดการสูบบหรี่ หลีกเลี่ยงเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอลล์ น้าอัดลม ชา กาแฟ
ลดอาหารมัน ของทอด ของหวาน
รับประทานอาหารให้เป็นเวลา หลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารก่อนนอนอย่างน้อย 3-4 ชั่วโมง
ลดน้าหนัก ให้อยู่ในเกณฑ์ที่พอดี
แนะนาการรักษากรดไหลย้อน
ปรับเปลี่ยนนิสัย และการดาเนินชีวิตประจำวัน
การรักษาวิธีนี้ มีความส้าคัญมากโดยจะท้าให้ผู้ป่วยมีอาการน้อยลง ป้องกันไม่ให้เกิดอาการ และเพิ่มคุณภาพชีวิตของผู้ป่วย โดยลดปริมาณกรดในกระเพาะอาหาร และป้องกันไม่ให้กรดไหลย้อนกลับขึ้นไปในระบบทางเดินอาหารและทางเดินหายใจ ส่วนบนมากขึ น ที่ส้าคัญการรักษาด้วยวิธีนี ควรท้าอย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต แม้ว่าผู้ป่วยจะมีอาการดีขึ นหรือหายดีแล้วโดยไม่ต้องรับประทานยาแล้วก็ตามนิสัยส่วนตัว ถ้าเป็นไปได้ ควรพยายามลดน้าหนัก ถ้าน้าหนักเกิน เนื่องจากภาวะน้าหนักเกินจะท้าให้ความดันในช่องท้องมากขึ้น ท้าให้กรดไหลย้อนได้มากขึ้น พยายามหลีกเลี่ยงอย่าให้เครียด และถ้าสูบบุหรี่อยู่ ควรเลิก เพราะความเครียดและการสูบบุหรี่ท้าให้เกิดการหลั่งกรดมากขึ้น ถ้าไม่เคยสูบบุหรี่ ควรหลีกเลี่ยงการสูบบุหรี่ หรือควันบุหรี่ หลีกเลี่ยงการสวมเสื้อผ้าที่คับเกินไป โดยเฉพาะบริเวณรอบเอว
นิสัยในการรับประทาน
หลังจากรับประทานอาหารทันที พยายามหลีกเลี่ยงการนอนราบ การออกก้าลัง ยกของหนัก เอี ยวหรือก้มตัวหลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารมื อดึก และไม่ควรรับประทานอาหารใด ๆ อย่างน้อยภายในระยะเวลา 3 ชั่วโมงก่อนนอนพยายามรับประทานอาหารที่มีไขมันต่้า และพยายามหลีกเลี่ยงอาหารที่ปรุงด้วยการทอด อาหารมัน พืชผักบางชนิด เช่น หัวหอม กระเทียม มะเขือเทศ ฟาสต์ฟูด ช็อกโกแลต ถั่ว ลูกอม สะระแหน่ เนย ไข่ นม หรืออาหารที่มีรสจัด เช่น เผ็ดจัด เปรี ยวจัด เค็มจัด หวานจัด เป็นต้น รับประทานอาหารปริมาณพอดีในแต่ละมื้อ ไม่ควรรับประทานอาหารมากเกินไป ควรรับประทานอาหารปริมาณทีละน้อย ๆ แต่บ่อยครั งหลีกเลี่ยงเครื่องดื่มบางประเภท เช่น กาแฟ (แม้จะเป็นกาแฟที่ไม่มีกาเฟอีนก็ตาม) ชา น้ำอัดลม เครื่องดื่มที่ผสมแอลกอฮอล์ เช่น เบียร์ วิสกี ไวน์ โดยเฉพาะในตอนเย็น
นิสัยในการนอน
ถ้าจะนอนหลังรับประทานอาหาร ควรรอประมาณ 3-4 ชั่วโมง เวลานอน ควรหนุนหัวเตียงให้สูงขึ้นประมาณ 6 – 10 นิ้วจากพื้นราบ โดยใช้วัสดุรองขาเตียง เช่น ไม้ อิฐ อย่ายกศีรษะให้สูงขึ นโดยการใช้หมอนรองศีรษะ เพราะจะท้าให้ความดันในช่องท้องเพิ่มมากขึ น พบว่าประมาณร้อยละ 90 ของผู้ป่วยที่มีอาการของโรคกรดไหลย้อนสามารถควบคุมอาการได้ด้วยยา เพื่อลดปริมาณกรดในกระเพาะอาหาร หรือเพิ่มการเคลื่อนตัวของระบบทางเดินอาหารในการก้าจัดกรด ปัจจุบันยาลดกรดกลุ่ม proton pump inhibitor เป็นยาที่สามารถยับยั งการหลั่งกรดได้ดี สามารถเห็นผลการรักษาเร็ว ควรรับประทานยาสม่้าเสมอตามแพทย์สั่ง ไม่ควรลดขนาดยา หรือ หยุดยาเอง นอกจากแพทย์แนะน้า และควรมาพบแพทย์ตามแพทย์นัดอย่างสม่้าเสมอและต่อเนื่อง ซึ่งผู้ป่วยบางรายอาจใช้เวลานานประมาณ 1 – 3 เดือน กว่าที่อาการต่าง ๆ จะดีขึ้น อาการต่างๆ อาจไม่ดีขึ้นเร็ว ต้องใช้เวลาในการหาย เมื่ออาการต่าง ๆ ดีขึ้น และผู้ป่วยสามารถปรับเปลี่ยนนิสัยและการด้าเนินชีวิตประจ้าวันข้างต้นดังกล่าว ได้ และได้รับประทานยาต่อเนื่อง แพทย์จะปรับลดขนาดยาลงเรื่อยๆ ทีละน้อย ที่ส้าคัญไม่ควรซื้อยารับประทานเองเวลาป่วย เนื่องจากยาบางชนิดจะท้าให้กระเพาะอาหารมีการหลั่งกรดเพิ่มขึ้น หรือกล้ามเนื้อหูรูดของหลอดอาหารส่วนล่างคลายตัวมากขึ้น
การรักษาโดยใช้ยา
จะได้ผลดีที่สุดเมื่อมีการอักเสบของหลอดอาหาร ตัวยาลดกรด (Antacids) ใช้ส้าหรับผู้ป่วยที่อาการไม่รุนแรง และยาที่มีประสิทธิภาพในการรักษาโรคกรดไหลย้อนที่แพทย์นิยมใช้ในปัจจุบัน คือ ยาลดกรดในกลุ่มโปรตอนปั๊มอินฮิบิเตอร์ (Proton pump inhibitors) โดยการใช้ยา ต้องอยู่ภายใต้การดูแลของแพทย์ ถ้าไม่มีดีขึ้น อาจพิจารณาให้มีการตรวจเพิ่มเติม เช่น
การกลืนแป้งตรวจกระเพาะ
การส่องกล้องตรวจกระเพาะ (ไม่นิยมใช้เนื่องจากวินิจฉัยได้ยาก)
การผ่าตัด
หากผู้ป่วยมีอาการรุนแรง รักษาด้วยยาแล้วอาการไม่ดีขึ้น จึงจะท้าการรักษาด้วยการผ่าตัด ผูกหูรูดกระเพาะอาหาร เพื่อป้องกันไม่ให้กรดไหลย้อนขึ้นมาอีก
-
เรื่องล่าสุด
ความเห็นล่าสุด
คลังเก็บ
หมวดหมู่
- การจัดการศึกษานอกระบและตามอัธยาศัย
- การจัดการเรียนรู้ประชาธิปไตยในโรงเรียน
- การจัดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์จังหวัดสตูล
- การนิเทศ ติดตามและประเมินผลการศึกษา
- การศึกษาวิจัยทางการศึกษา
- ความรู้ทั่วไป
- งาน ก.ต.ป.น.
- จุดเน้นคุณภาพผู้เรียน
- วัฒนธรรมการวิจัย (QPAR)
- เขตพื้นที่การศึกษาสุจริต
- โรงเรียนสุจริต
- Uncategorized
เมนูหลัก
Blog ศน.สตูล
สถิติบล็อก
- 129,968 คน
Advertisements